logoo.jpg

nogift2 2

แบบประเมินผลการควบคุมภายใน 63

แบบ ปค.

หนังสือรับรองการประเมินผลการควบคุมภายใน

(ระดับหน่วยงานของรัฐ)

เรียน    นายอำเภอเสลภูมิ

                                               

องค์การบริหารส่วนบึงเกลือ ได้ประเมินผลการควบคุมภายในของหน่วยงาน สำหรับปีสิ้นสุด

วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2563 ด้วยวิธีการที่ องค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ กำหนดซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติ การควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่า ภารกิจของหน่วยงานจะบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายในด้านการดำเนินงานที่มีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ด้านการรายงานที่เกี่ยวกับการเงิน และไม่ใช่การเงินที่เชื่อถือได้ ทันเวลา และโปร่งใส รวมทั้งด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน

                   จากผลการประเมินดังกล่าว องค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือเห็นว่า การควบคุมภายในของหน่วยงานมีความเพียงพอ ปฏิบัติตามอย่างต่อเนื่อง และเป็นไปตามหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 ภายใต้การกำกับดูแลของ นายอำเภอเสลภูมิ

                  

 

ลายมือชื่อ ...........................................................

       (นายสมศรี อ่างรี)

ตำแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วนตาบลบึงเกลือ

วันที่ 2 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ.2563

 

 

แบบ ปค.4

 

องค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด

 

รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน

 

ณ วันที่ 30 เดือน กันยายน พ..2563

 

องค์ประกอบของการควบคุมภายใน

ผลการประเมิน / ข้อสรุป

1. สภาพแวดล้อมการควบคุม งานบริหารงานทั่วไป (ธุรการ)

   มีการมอบหมายงานตามคำสั่ง อบต.บึงเกลือ เรื่องการมอบหมายงานรับผิดชอบ ตำแหน่ง      เจ้าพนักงานธุรการชำนาญงาน จำนวน 1 คน นอกจากงานในหน้าที่ต้องทำร่วมกับส่วนที่เกี่ยวข้อง ทำให้การติดตามตรวจสอบผลงานในส่วนที่รับผิดชอบได้น้อยลง

2. การประเมินความเสี่ยง

การควบคุมความเสี่ยงที่มีอยู่สามารถดำเนินการได้ระยะหนึ่ง มีการกำหนดหลักเกณฑ์การแล้วเสร็จของงานให้ชัดเจน

3. กิจกรรมการควบคุม

   1.มีการจัดลำดับความสำคัญของงาน

   2.มีการกำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของงานไว้

     อย่างชัดเจน

   3.ผู้บงคับบัญชาต้องมีการแจ้งผลการควบคุม

   เมื่อมีการละเลยการปฏิบัติหน้าที่ของ  

     เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย

4. สารสนเทศและการสื่อสาร

1.แจ้งเป็นหนังสือประชาสัมพันธ์ให้ผู้เกี่ยวข้อง

   ทราบทุกครั้ง

2.ประสานงานทางโทรศัพท์เป็นบางครั้ง

3.ดำเนินการออกส่งหนังสือเองบางครั้ง

- ยังมีความล่าช้าของหนังสือในบางเรื่องระหว่างหน่วยงานภายในองค์กรและหน่วยงานภายนอกองค์กร สาเหตุเกิดจาก

1.ขาดการประสานงานระหว่างผู้ส่งหนังสือและผู้รับหนังสือที่ไม่ตรงกัน

2.เกิดความล่าช้าของหนังสือจากหน่วยงานเจ้าของเรื่อง

3.ขาดการจัดลำดับชั้นความเร็วของหนังสือที่ต้องดำเนินการ

 

องค์ประกอบของการควบคุมภายใน

ผลการประเมิน / ข้อสรุป

5. การติดตามประเมินผล

   1.มีการกำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของงานไว้อย่างชัดเจนทำให้สามารถกำหนดจำนวนงานที่แล้วเสร็จได้อย่างแน่นอน

   2.มีการกำหนดเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบไว้อย่างชัดเจน

 

 

แบบ ปค. 4

 

องค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด

 

รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน

 

ณ วันที่ 30 เดือน กันยายน พ..2563

 

องค์ประกอบของการควบคุมภายใน

ผลการประเมิน / ข้อสรุป

1.สภาพแวดล้อมการควบคุม

   (งานส่งเสริมการท่องเที่ยว) มีการมอบหมายงานตามคำสั่ง อบต.บึงเกลือ เรื่องการมอบหมายงานรับผิดชอบ ตำแหน่ง เจ้าพนักงานส่งเสริมการท่องเที่ยวชำนาญงาน จำนวน 1 คน นอกจากงานในหน้าที่ต้องทำร่วมกับส่วนที่เกี่ยวข้อง ทำให้การติดตามตรวจสอบผลงานในส่วนที่รับผิดชอบได้น้อยลง

2. การประเมินความเสี่ยง

ช่วงเทศกาลปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำบึงเกลือลดลงอย่างมาก

3. กิจกรรมการควบคุม

1.มีการจัดประชุมโครงการทุกครั้งก่อนมีการจัดงาน

2.มีคำสั่งแบ่งงานตามที่ได้รับมอบหมาย

3.ประเมิลผลโครงการและสรุปปัญหาอุปสรรค แนวทางแก้ไขหลังดำเนินโครงการเสร็จสิ้น

4. สารสนเทศและการสื่อสาร

1.มีการใช้โทรศัพท์ติดต่อประสานงาน

5. การติดตามประเมินผล

   1.การรายงานผลการปฏิบัติให้ผู้บริหารและ

     สภาองค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ

     รับทราบ

1.ลดกิจกรรมทางน้ำเน้นกิจกรรมลานกลางแจ้ง

2.ความเสี่ยง

-กิจกรรมที่ดำเนินการบางอย่างที่เป็นทางน้ำต้องงดเพราะว่าปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำบึงเกลือลดลงอย่างมากทำให้ไม่สามารถดำเนินการได้

3.กิจกรรมควบคุม

1.มีการจัดประชุมโครงการทุกครั้งก่อนมีการจัดงาน

2.มีคำสั่งแบ่งงานตามที่ได้รับมอบหมาย

3.ประเมิลผลโครงการและสรุปปัญหาอุปสรรค แนวทางแก้ไขหลังดำเนินโครงการเสร็จสิ้น

 

แบบ ปค. 4

 

องค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด

 

รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน

 

ณ วันที่ 30 เดือน กันยายน พ..2563

 

องค์ประกอบของการควบคุมภายใน

ผลการประเมิน / ข้อสรุป

1.สภาพแวดล้อมการควบคุม

(งานนโยบายและแผน) มีการมอบหมายงานตามคำสั่ง อบต.บึงเกลือ เรื่องการมอบหมายงานรับผิดชอบ ตำแหน่ง นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ จำนวน 1 คน นอกจากงานในหน้าที่ต้องทำร่วมกับส่วนที่เกี่ยวข้อง ทำให้การติดตามตรวจสอบผลงานในส่วนที่รับผิดชอบได้น้อยลง

2. การประเมินความเสี่ยง

- โครงการมีเป็นจำนวนมากและยังปฏิบัติจริงไม่ได้ตาม

   โครงการที่ได้กำหนดไว้

- นโยบายวัตถุประสงค์และเป้าหมายของแต่ละหน่วยงานยัง

   ไม่ชัดเจนและไม่สอดคล้อง

3. กิจกรรมการควบคุม

1. ทบทวนนโยบายและวัตถุประสงค์ของ อบต.

2. ตรวจสอบข้อมูลและความชัดเจน

3. ประชุมชี้แจงเพื่อทบทวนหรือกำหนดภารกิจไม่ให้

     ซ้ำซ้อน

4. สารสนเทศและการสื่อสาร

1. แจ้งเป็นหนังสือประชาสัมพันธ์

2. มีการใช้โทรศัพท์ติดต่อประสานงาน

5. การติดตามประเมินผล

 จัดให้มีการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับบทบาท

     หน้าที่ของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนา

     องค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ

1.มีแผนงาน/โครงการที่เสนอผ่านการประชาคมจำนวนมากไม่สามารถที่จะทำการบรรจุเข้าไปในในแผนพัฒนาได้ทั้งหมด

2.ความเสี่ยง

แผนพัฒนายังไม่สามารถแก้ปัญหาความต้องการของประชาชนได้ทั้งหมด

3.กิจการรมควบคุม

เน้นการจัดลำดับ แผนงาน/โครงการที่มีความสำคัญ เร่งด่วน

 

แบบ ปค.4

 

องค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด

 

รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน

 

ณ วันที่ 30 เดือน กันยายน พ..2563

 

องค์ประกอบของการควบคุมภายใน

ผลการประเมิน / ข้อสรุป

1.สภาพแวดล้อมการควบคุม

   (งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย) มีการมอบหมายงานตามคำสั่ง อบต.บึงเกลือ เรื่องการมอบหมายงานรับผิดชอบ ตำแหน่ง เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยชำนาญงาน   จำนวน 1 คน นอกจากงานในหน้าที่ต้องทำร่วมกับส่วนที่เกี่ยวข้อง ทำให้การติดตามตรวจสอบผลงานในส่วนที่รับผิดชอบได้น้อยลง

2. การประเมินความเสี่ยง

1.เช็คพิกัดทุก 1 ชม.กับลูกข่าย

2.สั่งการทำงานได้รับทราบพร้อมกันหลายคน

3. กิจกรรมการควบคุม

จุดพักพิงผู้ประสบภัย

1.จัดวิทยุประจำที่จำนวน 1 ตัว

2.ติดตั้งเสาสัญญาณสั่งการโดยการใช้วิทยุสื่อสาร

3.จดบันทึกเวลาที่ทำการ

4. สารสนเทศและการสื่อสาร

1. แจ้งเป็นหนังสือประชาสัมพันธ์

2. ติดต่อประสานงานทางโทรศัพท์

5. การติดตามประเมินผล

   ตรวจสอบการตรวจรับหรือรับทราบคำสั่งให้เข้า

   ปฏิบัติหน้าที่เป็นรายบุคคล

1. เพื่อให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผลและมีแนวทางปฏิบัติให้เป็นไปในทางเดียวกัน

2.ความเสี่ยง

   หลังการปฏิบัติหน้าที่ต้องชาร์ตแบตเตอรี่ทุกคน

3.กิจการรมควบคุม

   จุดพักพิงผู้ประสบภัย

1.จัดวิทยุประจำที่จำนวน 1 ตัว

2.ติดตั้งเสาสัญญาณสั่งการโดยการใช้วิทยุสื่อสาร

3.จดบันทึกเวลาที่ทำการ

 

แบบ ปค. 4

 

องค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด

 

รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน

 

ณ วันที่ 30 เดือน กันยายน พ..2563

 

องค์ประกอบของการควบคุมภายใน

ผลการประเมิน / ข้อสรุป

1.สภาพแวดล้อมการควบคุม

   (งานบริหารงานบุคคล) มีการมอบหมายงานตามคำสั่ง อบต.บึงเกลือ เรื่องการมอบหมายงานรับผิดชอบ ตำแหน่ง หัวหน้าฝ่ายบริหารงานทั่วไป จำนวน 1 คน นอกจากงานในหน้าที่ต้องทำร่วมกับส่วนที่เกี่ยวข้อง ทำให้การติดตามตรวจสอบผลงานในส่วนที่รับผิดชอบได้น้อยลง

2. การประเมินความเสี่ยง

ดำเนินการสรรหาตามตำแหน่งที่ว่างตามกรอบอัตรากำลังต่อไปเพื่อให้มีผู้ปฏิบัติงานมารับผิดชอบงานตามตำแหน่งหน้าที่ด้วยความระมัดระวังศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมหรือจัดอบรมให้ความรู้/ส่งเข้ารับการฝึกอบรม

3. กิจกรรมการควบคุม

แจ้งเวียนตำแหน่งที่ว่าง รับโอน ย้าย สรรหาบุคคลตามกรอบอัตรากำลัง

4. สารสนเทศและการสื่อสาร

1. แจ้งเป็นหนังสือประชาสัมพันธ์

2. ลงประกาศทางเว็บไซด์

5. การติดตามประเมินผล

ได้ดำเนินการแจ้งเวียนตำแหน่งที่ว่าง รับโอนย้าย ของใช้บัญชีของกรม ฯ สรรหาตามกรอบอัตรากำลังแต่ยังไม่ครบตามตำแหน่งที่ว่างอยู่จึงต้องดำเนินการสรรหาต่อไป

1.เพื่อให้บุคลากรมีจิตสำนึกที่ดี ซื่อสัตย์ สุจริตและรับผิดชอบ ยืดถือประโยชน์ของประเทศชาติเหนือกว่าประโยชน์ส่วนตน ยืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง เป็นธรรม ยึดมั่นในหลักจรรยาวิชาชีพขององค์กร

2.ความเสี่ยง

จำนวนบุคลากรมีน้อยและไม่ครบตามกรอบอัตรากำลังและมอบหมายให้รับผิดชอบภารกิจงานที่ไม่ตรงกับความรู้ ความชำนาญและมาตรฐานกำหนดตำแหน่งอาจทำให้เกิดความผิดพลาดและเสียหายต่อทางราชการได้

3.กิจการรมควบคุม

ดำเนินการสรรหาตามตำแหน่งที่ว่างตามกรอบอัตรากำลังต่อไปเพื่อให้มีผู้ปฏิบัติงานมารับผิดชอบงานตามตำแหน่งหน้าที่ด้วยความระมัดระวังศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมหรือจัดอบรมให้ความรู้/ส่งเข้ารับการฝึกอบรม

 

แบบ ปค.4

 

องค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด

 

รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน

 

ณ วันที่ 30 เดือน กันยายน พ..2563

 

องค์ประกอบของการควบคุมภายใน

ผลการประเมิน / ข้อสรุป

1.สภาพแวดล้อมการควบคุม

   (งานนิติการ) มีการมอบหมายงานตามคำสั่ง อบต.บึงเกลือ เรื่องการมอบหมายงานรับผิดชอบ ตำแหน่ง นิติกรชำนาญการ จำนวน 1 คน นอกจากงานในหน้าที่ต้องทำร่วมกับส่วนที่เกี่ยวข้อง ทำให้การติดตามตรวจสอบผลงานในส่วนที่รับผิดชอบได้น้อยลง

2. การประเมินความเสี่ยง

การออกใบอนุญาตไม่ครอบคลุมทุกประเภทสถานประกอบการ

   3. กิจกรรมการควบคุม

1.มีคำสั่งแบ่งงานตามภารกิจหน้าที่ มีผู้รับผิดชอบชัดเจน

2.มีการติดตามประเมินผลความสำเร็จของงาน

3.มีการทำรายงานเสนอผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้น

4. สารสนเทศและการสื่อสาร

1. แจ้งเป็นหนังสือประชาสัมพันธ์

2. ลงประกาศทางเว็บไซด์

5. การติดตามประเมินผล

เช็คจากทะเบียนผู้ประกอบการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เมื่อถึงกำหนดได้มีหนังสือติดตามทวงถาม

1.เพื่อให้ผู้ประกอบการรายเก่าได้ต่อใบอนุญาตครบ 100 %

2.ความเสี่ยง

การออกใบอนุญาตไม่ครอบคลุม ทุกประเภทสถานประกอบการ

3.กิจการรมควบคุม

1.ควรมีการประชุมร่วมกับผู้นำหมู่บ้านทุกแห่ง เพื่อทำความเข้าใจ

2.จัดทำป้ายรณรงค์ทุกหมู่บ้าน

3.ใช้มาตรการทางกฎหมาย

 

แบบ ปค. 4

 

องค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด

 

รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน

 

ณ วันที่ 30 เดือน กันยายน พ..2563

 

องค์ประกอบการควบคุมภายใน

ผลการประเมิน/ ข้อสรุป

กองคลัง

1. สภาพแวดล้อมการควบคุม

   1.1 กิจกรรมงานกองคลัง

     วิเคราะห์ 3 แนวทาง คือ วิเคราะห์จาก ภารกิจงานประจำ สภาพแวดล้อมภายใน และ สภาพแวดล้อมภายนอก ดังต่อไปนี้

$1(1)     วิเคราะห์จากภารกิจงานประจำ ตามโครงสร้างในคำสั่งแบ่งงาน ภารกิจการปฏิบัติงาน แบ่งออกเป็น 5 ฝ่าย ดังนี้

$1(1.1)  ฝ่ายการเงิน มีภารกิจทั้งสิ้น 16 ข้อ เมื่อ

สำรวจประเมินระบบควบคุมภายในที่มีอยู่เดิมและปรับปรุง

จุดอ่อน ของภารกิจแต่ละข้อ พบว่าในภารกิจงานประจำ มี

ระบบการควบคุมภายใน ยังพบจุดอ่อน 1. ด้านการนำส่งเงิน

คือการนำเงินฝากล่าช้า เนื่องจากรับเงินรายได้หลังจากใกล้

หมดเวลาทำการของธนาคาร ทำให้ไม่สามารถนำฝากเงินได้

ทันเวลา ต้องนำฝากในวันทำการถัดไป และบุคลากรด้าน

การเงินมีเพียงคนเดียว ทำให้การปฏิบัติงานต่าง ๆ เกิดความ

ล่าช้า การสอบทานการปฏิบัติงานยังไม่ดีเท่าที่ควร ถ้าหาก

เจ้าหน้าที่ขาดจริยธรรมก็อาจทำให้ราชการเกิดครามเสียหาย

ได้

$1(1.2)  ฝ่ายบัญชี มีภารกิจทั้งสิ้น 8 ข้อ เมื่อ

   สำรวจประเมินระบบควบคุมภายในที่มีอยู่เดิมและปรับปรุง

   จุดอ่อนของระบบการควบคุมภายในภารกิจแต่ละข้อ พบว่า

   ในภารกิจงานประจำมีระบบการควบคุมภายในเพียงพอแล้ว

แต่อย่างไรก็ตามยังมีจุดอ่อน เนื่องจากงานการบัญชีมีบุคลากรเพียงคนเดียว นอกเหนือจากงานประจำแล้วผู้รับผิดชอบยังต้องจัดทำรายงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับงานการเงินเป็นจำนวนมาก ทำให้การปฏิบัติหน้าที่เกิดความล่าช้า ทำงานไม่ทันตามกำหนดระยะเวลา

$1(1.1)  ฝ่ายพัฒนาและจัดเก็บรายได้ มีภารกิจ

   ทั้งสิ้น 9 ข้อ เมื่อสำรวจประเมินระบบควบคุมภายในที่มีอยู่

    เดิมและปรับปรุงจุดอ่อนของระบบการควบคุมภายในภารกิจ

   แต่ละข้อ พบว่าในภารกิจงานประจำมีระบบการควบคุม

   ภายในมีความเพียงพอ แต่ยังพบจุดอ่อนคือ การจัดเก็บ

   รายได้ไม่เป็นไปตามแผนและเป้าหมายที่กำหนด

       (1.3) ฝ่ายทะเบียนทรัพย์สินและพัสดุ มีภารกิจทั้งสิ้น 7 ข้อ เมื่อสำรวจประเมินระบบควบคุมภายในที่มีอยู่เดิมและปรับปรุงจุดอ่อนของระบบการควบคุมภายในภารกิจแต่ละข้อ พบว่าในภารกิจงานประจำมีระบบการควบคุมภายในมีความเพียงพอแต่ยังพบจุดอ่อนคือ การปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้างไม่เป็นไปตามแผนงานที่วางไว้ เนื่องจากงบประมาณไม่เข้าตามที่

         กองคลัง ได้วิเคราะห์ประเมินระบบควบคุมภายในตามภารกิจ ที่ปรากฏตามคำสั่งแบ่งงาน ในภารกิจ 5 งาน คือ

(1) งานการเงิน (2) งานการบัญชี (3) งานพัฒนาและจัดเก็บรายได้ (4) งานทะเบียนทรัพย์สินและพัสดุ (5) งานควบคุมงบประมาณ โดย วิเคราะห์ประเมินผลตามองค์ประกอบมาตรฐานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 ผลการประเมินพบว่า

         - สภาพแวดล้อมภายใน มีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมแล้ว มีความเพียงพอ ไม่พบความเสี่ยง ที่จะต้องดำเนินจัดทำแผนการปรับปรุง

         จากการวิเคราะห์สำรวจ พบว่า มีกิจกรรม5 กิจกรรม ที่ต้องจัดการบริหารความเสี่ยง คือ

         (1) กิจกรรมการจัดทำฎีกาเบิกจ่ายเงินงบประมาณ

เป็นภารกิจ ของ งานการเงิน

         (2) กิจกรรมด้านบันทึกบัญชี เป็นภารกิจ ของ งานการ

                บัญชี

     (3) กิจกรรมด้านการพัฒนาและจัดเก็บรายได้ ของ งานด้านฝ่ายพัฒนาและจัดเก็บรายได้

           (4) กิจการด้านการควบคุมงบประมาณ ของ งานควบคุมงบประมาณ

           (5) กิจการด้านทะเบียนทรัพย์สินและพัสดุ ของ งานทะเบียนทรัพย์สินและพัสดุ  

               สภาพแวดล้อมภายนอก

           งานภายในกองคลังทั้ง 5 กิจกรรมนี้ กองคลังจะต้องทำแผนการปรับปรุงตามแบบ ปค.5 และวิเคราะห์ประเมินผลรายงานในคราวต่อไป

 

แบบ ปค. 4

 

องค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด

 

รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน

 

ณ วันที่ 30 เดือน กันยายน พ..2563

 

องค์ประกอบการควบคุมภายใน

ผลการประเมิน/ ข้อสรุป

     กำหนดไว้ ระเบียบกฎหมายด้านการพัสดุออกมาใหม่ ทำให้เป็นปัญหาอุปสรรคในด้านการปฏิบัติงาน

    (1.4) ฝ่ายควบคุมงบประมาณ มีภารกิจทั้งสิ้น4ข้อ เมื่อสำรวจประเมินระบบควบคุมภายในที่มีอยู่เดิมและปรับปรุงจุดอ่อนของระบบการควบคุมภายในภารกิจแต่ละข้อ พบว่าในภารกิจงานประจำมีระบบการควบคุมภายในมีความเพียงพอ แต่ยังพบจุดอ่อน คือ เจ้าหน้าที่ขาดความละเอียดรอบคอบ มีการวางฎีกาผิดประเภท ซึ่งอาจทำให้การควบคุมงบประมาณผิดพลาดได้

   (2) วิเคราะห์จาก สภาพแวดล้อมภายใน        

         (2.1) ระเบียบกฎหมาย หนังสือสั่งการ แนวทางปฏิบัติ

                  เมื่อสำรวจประเมินระบบควบคุมภายในที่มีอยู่เดิมและปรับปรุงจุดอ่อนของระบบการควบคุมภายในด้านระเบียบ กฎหมาย หนังสือสั่งการ แนวทางปฏิบัติ ไม่พบความเสี่ยง เนื่องจากได้มีการส่งเจ้าหน้าที่ภายในส่วนการคลังไปศึกษาอบรมอย่างสม่ำเสมอเป็นประจำทุกปี

(3) วิเคราะห์จาก สภาพแวดล้อมภายนอก

         (3.1) สถานที่ปฏิบัติราชการ เมื่อสำรวจประเมินระบบควบคุมภายในที่มีอยู่เดิม พบจุดอ่อน สถานที่ปฏิบัติราชการขาดความเป็นสัดส่วน ทำให้การปฏิบัติหน้าที่ของส่วนงานคลังยากต่อการควบคุมให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามส่วนงานของตนเอง

           (3.2) สถานที่ตั้ง เมื่อสำรวจประเมินระบบควบคุมภายในที่มีอยู่เดิมและปรับปรุงจุดอ่อนของระบบการควบคุมภายในด้านสถานที่ตั้ง ไม่พบจุดอ่อน

2. การประเมินความเสี่ยง

   2.1 กิจกรรมงานกองคลัง

2.1.1ฝ่ายการเงิน

                     ความเสี่ยง จากจุดอ่อนด้านการจัดทำฎีกาเบิกจ่ายเงินต่าง ๆ   ซึ่ง ฝ่ายงานการเงินเป็นผู้จัดทำฎีกาทั้งองค์กร ทำให้การเบิกจ่ายเกิดความล่าช้า และเป็นการรับผิดชอบงานมากเกินไป ส่งผลให้การปฏิบัติงานล่าช้า ไม่เป็นปัจจุบันและไม่ทันเวลา

         2.1.2ฝ่ายการบัญชี

                    ความเสี่ยง เนื่องจากงานการบัญชีนอกเหนือจากงานประจำแล้วผู้รับผิดชอบยังต้องจัดทำรายงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับงานการเงินเป็นจำนวนมาก ทำให้การปฏิบัติหน้าที่เกิดความล่าช้า ทำงานไม่ทันตามกำหนดระยะเวลา

 

 

แบบ ปค. 4

 

องค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด

 

รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน

 

ณ วันที่ 30 เดือน กันยายน พ..2563

 

องค์ประกอบการควบคุมภายใน

ผลการประเมิน/ ข้อสรุป

อบจ., ท้องถิ่นอำเภอ, เทศบาล และ อบต. ใกล้เคียง ฯลฯ เป็นไปอย่างสะดวก และได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดี

   4.3 การติดต่อประสานงานทางโทรศัพท์และโทรสาร

อบต. บึงเกลือ มีโทรศัพท์ และโทรสารที่ใช้ในการติดต่อประสานงานที่ทันสมัย สามารถติดต่อประสานงาน รวมถึงการติดต่อรับ-ส่ง เอกสารต่าง ๆ ผ่านเครื่องโทรสารได้ทันท่วงที

5. วิธีการติดตามประเมินผล

    (1) ใช้แบบสอบทาน เป็นเครื่องมือในการติดตามประเมินผล เพื่อสอบทานการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง โดยเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ และหัวหน้าส่วนการคลัง

     (2) ผู้บริหาร หัวหน้าหน่วยงาน และหัวหน้าส่วนการคลังต้องติดตาม กำกับดูแล เพื่อให้งานการคลังมีการบันทึกบัญชีและมีการตรวจสอบทุกวัน

     (3) ใช้ระบบสารสนเทศและการสื่อสารทั้งหมดที่มีอยู่ ของ อบต. เพื่อให้มีการติดตามระบบการควบคุมภายในที่ปรับปรุงใหม่อย่างสม่ำเสมอ มีความเพียงพอต่อการควบคุมหรือไม่ หากพบจุดอ่อน จะได้ทำแผนการปรับปรุง เพื่อให้ความเสี่ยงลดลง หรือสามารถควบคุมความเสี่ยงได้ โดยดำเนินการติดตามผลอย่างต่อเนื่องและรายงานผลการดำเนินการให้ผู้บังคับบัญชาและผู้บริหาร ทราบ อย่างต่อเนื่อง

 

 

แบบ ปค. 4

 

องค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด

 

รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน

 

ณ วันที่ 30 เดือน กันยายน พ..2563

 

องค์ประกอบการควบคุมภายใน

ผลการประเมิน / ข้อสรุป

กองช่าง

1. สภาพแวดล้อมการควบคุม

1.1 กิจกรรมด้าน การสำรวจและควบคุมงานก่อสร้าง

1.2 กิจกรรมด้าน “งานประสานสาธารณูปโภค”

1.3 กิจกรรมด้าน “การประมาณราคา”

2. การประเมินความเสี่ยง

2.1 กิจกรรมด้าน การสำรวจและควบคุมงานก่อสร้าง

       1) บุคลากรในการทำงานมีจำนวนน้อยไม่เพียงพอต่อการควบคุมงานก่อสร้าง

       2) ขาดอุปกรณ์เครื่องมือและบุคลากรในการสำรวจ

2.2 กิจกรรมด้าน “งานประสานสาธารณูปโภค”

         1) งบประมาณไม่เพียงพอต่อการก่อสร้างหรือซ่อมแซมบำรุงรักษาอย่างทั่วถึง

2.3 กิจกรรมด้าน “การประมาณราคา”

         1) ราคากลางที่พาณิชย์กำหนดกับราคาจริงท้องตลาดต่างกันมาก ทำให้การประเมินราคาคลาดเคลื่อน

         2) เครื่องมือสื่อสารไม่สามารถใช้งานได้

3. กิจกรรมการควบคุม

3.1 กิจกรรมด้าน การสำรวจและควบคุมงานก่อสร้าง

       1) ผู้บังคับบัญชาควรสั่งกำชับให้เจ้าหน้าที่เอาใจใส่ต่อภารกิจที่ได้รับมอบหมายมีมาตรการลงโทษตามควรแก่กรณีถ้าจงใจละเลย

3.2 กิจกรรมด้าน “งานประสานสาธารณูปโภค”

         1) รายงานการควบคุมการเบิกจ่ายวัสดุต่อผู้บังคับบัญชาอย่างต่อเนื่อง

         2) การตรวจสอบดูแลความชำรุดเสียหายของถนนต่าง ๆ และคูระบายน้ำ

         3) การดูแลถนนสายต่าง ๆ และคูระบายน้ำให้สะดวก ปลอดภัยในการใช้งาน

         4) การดูแลระบบประปาหมู่บ้านในการควบคุมของอบต.ให้มีการใช้งานได้ดีและมีคุณภาพ

    

   กองช่าง ได้วิเคราะห์ประเมินระบบการควบคุมภายใน ตามภารกิจงานประจำ พบว่า งานด้านการสำรวจและควบคุมงานก่อสร้าง, งานประสานสาธารณูปโภค และด้านการประมาณราคา มีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสม และเพียงพอแล้ว

 

แบบ ปค. 4

 

องค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด

 

รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน

 

ณ วันที่ 30 เดือน กันยายน พ..2563

 

องค์ประกอบการควบคุมภายใน

ผลการประเมิน / ข้อสรุป

         5) การควบคุมการใช้วัสดุอุปกรณ์ให้ถูกต้องตามระเบียบและประหยัด

         6) ปลูกจิตสำนึกให้ประชาชนรู้สึกหวงแหนและช่วยดูแลรักษาทรัพย์สินส่วนรวม

         7) การประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

   3.3 กิจกรรมด้าน “การประมาณราคา”

         1) ราคากลางที่พาณิชย์กำหนดกับราคาจริงท้องตลาดต่างกันมาก ทำให้การประเมินราคาคลาดเคลื่อน

       2) เครื่องมือสื่อสารไม่สามารถใช้งานได้

4. สารสนเทศและการสื่อสาร

   4.1 นำระบบ Internet มาช่วยในการบริหารและการปฏิบัติราชการ กองช่าง มีระบบ Internet มาช่วยในการพัฒนาและติดตามข้อมูลข่าวสาร ระเบียบกฎหมายและหนังสือสั่งการได้

   4.2 การประสานงานภายในและภายนอกของ     กองช่าง   เช่น

       1) การติดต่อประสานงานภายในกองช่าง   ผู้อำนวยการกองช่างแจ้งให้เจ้าหน้าที่ควบคุมงานควบคุมดูแลงานก่อสร้างอย่างต่อเนื่องและทุกขั้นตอนการปฏิบัติแล้วรายงานผลการปฏิบัติงานประจำวัน นำเสนอต่อผู้บังคับบัญชา ทุกขั้นตอนการปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง เพื่อให้ทราบผลการปฏิบัติงานและกรณี

หากเกิดปัญหาขัดข้องไม่สามารถปฏิบัติงานได้      

ให้รีบรายงานต่อผู้บังคับบัญชา หรือผู้อำนวยการ     กองช่าง ทราบทุกครั้ง เพื่อรีบหาทางแก้ไขปัญหาต่อไป

         2) การติดต่อประสานงานกับหน่วยงานภายนอก

- จัดประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้ให้แก่ประชาชนทราบ ระเบียบ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

- จัดประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ สมาชิก อบต. และผู้แทนประชาคมทุกหมู่บ้าน เข้ามาประชุมเพื่อสอบถามและสำรวจข้อมูลพื้นที่แต่ละหมู่บ้านให้ตรงสภาพพื้นที่ที่แท้จริง

    

 

 

 

 

แบบ ปค. 4

 

องค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด

 

รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน

 

ณ วันที่ 30 เดือน กันยายน พ..2563

 

องค์ประกอบการควบคุมภายใน

ผลการประเมิน / ข้อสรุป

   4.3 การติดต่อประสานงานทางโทรศัพท์และโทรสารมีโทรศัพท์โทรสารที่ใช้ในการติดต่อประสานงานในภารกิจหน้าที่ของกองช่าง ได้เป็นอย่างดี เช่น กรณีมีความขัดข้องใช้โทรศัพท์ไปสอบถาม ผู้อำนวยการกองต่าง ๆ ให้ตอบและช่วย FAX ระเบียบ กฎหมายและหนังสือสั่งการต่าง ๆ

5. การติดตามประเมินผล      

   - ใช้แบบสอบทาน เป็นเครื่องมือในการติดตามประเมินผล เพื่อสอบทานการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องโดยเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ และผู้อำนวยการกองช่าง

การติดตามประเมินผล ตามแบบติดตาม ปค.4   พบว่า กิจกรรมด้านการสำรวจและควบคุมงานก่อสร้าง กิจกรรมงานสาธารณูปโภค และกิจกรรมด้านการประมาณราคา มีการควบคุมที่มีความเพียงพอแล้ว

          

 

 

 

 

 

แบบ ปค. 4

 

องค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด

 

รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน

 

ณ วันที่ 30 เดือน กันยายน พ..2563

 

องค์ประกอบของการควบคุมภายใน

ผลการประเมิน / ข้อสรุป

กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

1. สภาพแวดล้อมการควบคุม

   1.1 กิจกรรมด้าน งานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

สภาพแวดล้อมของการควบคุมแบ่งเป็น

         1) สภาพแวดล้อมที่เกิดจากปัจจัยภายในคือ ครู ผู้ดูแลเด็กบางคนขาดประสบการณ์ในการจัดการดูแลเด็กปฐมวัย

         2) สภาพแวดล้อมที่เกิดจากปัจจัยภายนอกคือการเปลี่ยนแปลงของกฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง

     1.2 กิจกรรมด้าน งานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสภาพแวดล้อมของการควบคุมเกิดจากสภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยภายนอกคือ การเปลี่ยนแปลงของกฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง

2. การประเมินความเสี่ยง

   2.1 กิจกรรมด้าน งานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเกิดความเสี่ยงจากสภาพแวดล้อมภายใน คือ การจัดการศึกษาเด็กอนุบาลและปฐมวัยยังไม่ได้มาตรฐาน และขาดสนามเด็กเล็กที่ได้มาตรฐานและปลอดภัย

3. กิจกรรมการควบคุม

   3.1 ด้าน งานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการจัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานของศพด.

   - จัดส่งครู ผู้ดูแลเด็กเข้ารับการอบรมในส่วนงานที่เกี่ยวข้อง

   -   มีการสรุปผลของการปฏิบัติงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในทุก 6 เดือน

4. สารสนเทศและการสื่อสาร

   4.1 นำระบบ Internet มาช่วยในการบริหารและการปฏิบัติราชการ การติดตามข้อมูลข่าวสาร ระเบียบหนังสือสั่งการ จึงสามารถปฏิบัติตามระเบียบ หนังสือสั่งการได้ทันทีทันใด

   4.2 การประสานงานภายในและภายนอกของกองการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

           1) การติดต่อประสานงานภายในองค์กร คือ สำนักปลัด กองคลัง กองช่าง สามารถติดต่อประสานงานกันได้เป็นอย่างดี

           2) การติดต่อประสานงานกับหน่วยงานภายนอก คือ โรงเรียนในพื้นที่ ทางกองการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ก็สามารถติดต่อประสานงานกับหน่วยภายนอกได้เป็นอย่างดี

     4.3 การติดต่อประสานงานทางโทรศัพท์และ

โทรสาร สามารถติดต่อได้อย่างมีประสิทธิภาพทำให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย

5. การติดตามประเมินผล

   มีการติดตามประเมินผลโดย มีการตรวจเยี่ยมประเมินศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของอบต.ปีละ 2 ครั้ง

กองการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ได้วิเคราะห์ประเมินระบบการควบคุมภายใน

ตามภารกิจงานประจำ

โดยวิเคราะห์ประเมินผลตามองค์ประกอบมาตรฐานการควบคุมภายใน  

ผลการประเมิน พบว่างานบริหารงานการศึกษา งานส่งเสริมการศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม งานกิจการโรงเรียนมีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมแล้ว มีความเพียงพอ

พบความเสี่ยง

ที่จะต้องดำเนินการจัดทำแผนการปรับปรุง ใน

งานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ดังนี้

     1. ครู ผู้ดูแลเด็กบางคนขาดประสบการณ์ในการจัดการดูแลเด็กปฐมวัย

     2.ขาดสนามเด็กเล็กที่ได้มาตรฐานและปลอดภัย

การติดตามผลในแบบ ปค.5 พบว่า

- มีการตรวจเยี่ยมประเมินศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ของอบต.ปีละ 2 ครั้ง

 

 

 

 

 

แบบ ปค. 4

 

องค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด

 

รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน

 

ณ วันที่ 30 เดือน กันยายน พ..2563

 

องค์ประกอบของการควบคุมภายใน

ผลการประเมิน / ข้อสรุป

1. สภาพแวดล้อมการควบคุม

   1.1 กิจกรรมด้าน งานบริหารสวัสดิการสังคม

สภาพแวดล้อมของการควบคุมแบ่งเป็น

         1) สภาพแวดล้อมที่เกิดจากปัจจัยภายในคือ

งานมีปริมาณมาก งานด้านเอกสารและการติดต่อประสานงาน

         2) สภาพแวดล้อมที่เกิดจากปัจจัยภายนอกคือการเปลี่ยนแปลงของกฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง

     1.2 กิจกรรมด้าน งานบริหารความเสี่ยงด้านสวัสดิการสังคมสภาพแวดล้อมของการควบคุมเกิดจากสภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยภายนอกคือ การเปลี่ยนแปลงของกฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง

2. การประเมินความเสี่ยง

   2.1 กิจกรรมด้าน งานบริหารความเสี่ยงด้านสวัสดิการสังคมเกิดความเสี่ยงจากสภาพแวดล้อมภายใน คือ

งานด้านเอกสารมีปริมาณมาก ต้องมีความรับผิดชอบ

ดำเนินงานให้ทันเวลาและถูกต้อง

3. กิจกรรมการควบคุม

   3.1 ด้าน งานบริหารความเสี่ยงด้านสวัสดิการสังคม

มีการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง ติดตามงาน และเรียงลำดับงานก่อน-หลัง เพื่อให้มีประสิทธิภาพ

4. สารสนเทศและการสื่อสาร

   4.1 นำระบบโซเซียล เช่น โทรศัพท์,เว็บไซด์,Internet ,Line, Facebook มาช่วยในการบริหารและการปฏิบัติราชการ การติดตามข้อมูลข่าวสาร ระเบียบหนังสือสั่งการ

จึงสามารถปฏิบัติตามระเบียบ หนังสือสั่งการได้ทันทีทันใด

   4.2 การประสานงานภายในและภายนอกของ

กองการสวัสดิการสังคม

กองสวัสดิการสังคม

ได้วิเคราะห์ประเมินระบบการควบคุมภายใน

ตามภารกิจงานประจำ

โดยวิเคราะห์ประเมินผลตามองค์ประกอบมาตรฐานการควบคุมภายใน

ผลการประเมิน พบว่างานบริหารงานสวัสดิการสังคม มีระบบการควบคุมภายใน

ที่เหมาะสมแล้ว มีความเพียงพอ

พบความเสี่ยง

-

การติดตามผลในแบบ ปค. 5 พบว่า

-

   

องค์ประกอบของการควบคุมภายใน

ผลการประเมิน / ข้อสรุป

         1) การติดต่อประสานงานภายในองค์กร คือ

สำนักงานปลัด กองคลัง กองช่าง สามารถติดต่อประสานงานกันได้เป็นอย่างดี

         2) การติดต่อประสานงานกับหน่วยงานภายนอก คือ ผู้นำชุมชนในพื้นที่ ทางกองการสวัสดิการสังคม สามารถติดต่อ

ประสานงานกับหน่วยภายนอกได้เป็นอย่างดี

     4.3 การติดต่อประสานงานทางโทรศัพท์และ

โทรสาร สามารถติดต่อได้อย่างมีประสิทธิภาพทำให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย

5. การติดตามประเมินผล

    มีการติดตามประเมินผลโดยการประสานงานผู้นำชุมชน กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เป็นผู้ติดตามประเมินผลและจากการติดตามประเมินผล พบว่า ไม่มีความเสี่ยงด้านสวัสดิการสังคม

 

 

                                                          ชื่อผู้รายงาน.......................................................

 

           (นายสมศรี อ่างรี)

 

ตำแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ

 

                       วันที่ 2 เดือน พฤศจิกายน พ..2563

 

 

 

แบบ ปค.4

 

องค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด

 

รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน

 

ณ วันที่ 30 เดือน กันยายน พ..2563

 

องค์ประกอบของการควบคุมภายใน

ผลการประเมิน / ข้อสรุป

1. สภาพแวดล้อมการควบคุม งานบริหารงานทั่วไป (ธุรการ)

   มีการมอบหมายงานตามคำสั่ง อบต.บึงเกลือ เรื่องการมอบหมายงานรับผิดชอบ ตำแหน่ง      เจ้าพนักงานธุรการชำนาญงาน จำนวน 1 คน นอกจากงานในหน้าที่ต้องทำร่วมกับส่วนที่เกี่ยวข้อง ทำให้การติดตามตรวจสอบผลงานในส่วนที่รับผิดชอบได้น้อยลง

2. การประเมินความเสี่ยง

การควบคุมความเสี่ยงที่มีอยู่สามารถดำเนินการได้ระยะหนึ่ง มีการกำหนดหลักเกณฑ์การแล้วเสร็จของงานให้ชัดเจน

3. กิจกรรมการควบคุม

   1.มีการจัดลำดับความสำคัญของงาน

   2.มีการกำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของงานไว้

     อย่างชัดเจน

   3.ผู้บงคับบัญชาต้องมีการแจ้งผลการควบคุม

   เมื่อมีการละเลยการปฏิบัติหน้าที่ของ  

     เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย

4. สารสนเทศและการสื่อสาร

1.แจ้งเป็นหนังสือประชาสัมพันธ์ให้ผู้เกี่ยวข้อง

   ทราบทุกครั้ง

2.ประสานงานทางโทรศัพท์เป็นบางครั้ง

3.ดำเนินการออกส่งหนังสือเองบางครั้ง

- ยังมีความล่าช้าของหนังสือในบางเรื่องระหว่างหน่วยงานภายในองค์กรและหน่วยงานภายนอกองค์กร สาเหตุเกิดจาก

1.ขาดการประสานงานระหว่างผู้ส่งหนังสือและผู้รับหนังสือที่ไม่ตรงกัน

2.เกิดความล่าช้าของหนังสือจากหน่วยงานเจ้าของเรื่อง

3.ขาดการจัดลำดับชั้นความเร็วของหนังสือที่ต้องดำเนินการ

 

องค์ประกอบของการควบคุมภายใน

ผลการประเมิน / ข้อสรุป

5. การติดตามประเมินผล

   1.มีการกำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของงานไว้อย่างชัดเจนทำให้สามารถกำหนดจำนวนงานที่แล้วเสร็จได้อย่างแน่นอน

   2.มีการกำหนดเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบไว้อย่างชัดเจน

 

 

แบบ ปค. 4

 

องค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด

 

รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน

 

ณ วันที่ 30 เดือน กันยายน พ..2563

 

องค์ประกอบของการควบคุมภายใน

ผลการประเมิน / ข้อสรุป

1.สภาพแวดล้อมการควบคุม

   (งานส่งเสริมการท่องเที่ยว) มีการมอบหมายงานตามคำสั่ง อบต.บึงเกลือ เรื่องการมอบหมายงานรับผิดชอบ ตำแหน่ง เจ้าพนักงานส่งเสริมการท่องเที่ยวชำนาญงาน จำนวน 1 คน นอกจากงานในหน้าที่ต้องทำร่วมกับส่วนที่เกี่ยวข้อง ทำให้การติดตามตรวจสอบผลงานในส่วนที่รับผิดชอบได้น้อยลง

2. การประเมินความเสี่ยง

ช่วงเทศกาลปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำบึงเกลือลดลงอย่างมาก

3. กิจกรรมการควบคุม

1.มีการจัดประชุมโครงการทุกครั้งก่อนมีการจัดงาน

2.มีคำสั่งแบ่งงานตามที่ได้รับมอบหมาย

3.ประเมิลผลโครงการและสรุปปัญหาอุปสรรค แนวทางแก้ไขหลังดำเนินโครงการเสร็จสิ้น

4. สารสนเทศและการสื่อสาร

1.มีการใช้โทรศัพท์ติดต่อประสานงาน

5. การติดตามประเมินผล

   1.การรายงานผลการปฏิบัติให้ผู้บริหารและ

     สภาองค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ

     รับทราบ

1.ลดกิจกรรมทางน้ำเน้นกิจกรรมลานกลางแจ้ง

2.ความเสี่ยง

-กิจกรรมที่ดำเนินการบางอย่างที่เป็นทางน้ำต้องงดเพราะว่าปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำบึงเกลือลดลงอย่างมากทำให้ไม่สามารถดำเนินการได้

3.กิจกรรมควบคุม

1.มีการจัดประชุมโครงการทุกครั้งก่อนมีการจัดงาน

2.มีคำสั่งแบ่งงานตามที่ได้รับมอบหมาย

3.ประเมิลผลโครงการและสรุปปัญหาอุปสรรค แนวทางแก้ไขหลังดำเนินโครงการเสร็จสิ้น

 

แบบ ปค. 4

 

องค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด

 

รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน

 

ณ วันที่ 30 เดือน กันยายน พ..2563

 

องค์ประกอบของการควบคุมภายใน

ผลการประเมิน / ข้อสรุป

1.สภาพแวดล้อมการควบคุม

(งานนโยบายและแผน) มีการมอบหมายงานตามคำสั่ง อบต.บึงเกลือ เรื่องการมอบหมายงานรับผิดชอบ ตำแหน่ง นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ จำนวน 1 คน นอกจากงานในหน้าที่ต้องทำร่วมกับส่วนที่เกี่ยวข้อง ทำให้การติดตามตรวจสอบผลงานในส่วนที่รับผิดชอบได้น้อยลง

2. การประเมินความเสี่ยง

- โครงการมีเป็นจำนวนมากและยังปฏิบัติจริงไม่ได้ตาม

   โครงการที่ได้กำหนดไว้

- นโยบายวัตถุประสงค์และเป้าหมายของแต่ละหน่วยงานยัง

   ไม่ชัดเจนและไม่สอดคล้อง

3. กิจกรรมการควบคุม

1. ทบทวนนโยบายและวัตถุประสงค์ของ อบต.

2. ตรวจสอบข้อมูลและความชัดเจน

3. ประชุมชี้แจงเพื่อทบทวนหรือกำหนดภารกิจไม่ให้

     ซ้ำซ้อน

4. สารสนเทศและการสื่อสาร

1. แจ้งเป็นหนังสือประชาสัมพันธ์

2. มีการใช้โทรศัพท์ติดต่อประสานงาน

5. การติดตามประเมินผล

 จัดให้มีการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับบทบาท

     หน้าที่ของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนา

     องค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ

1.มีแผนงาน/โครงการที่เสนอผ่านการประชาคมจำนวนมากไม่สามารถที่จะทำการบรรจุเข้าไปในในแผนพัฒนาได้ทั้งหมด

2.ความเสี่ยง

แผนพัฒนายังไม่สามารถแก้ปัญหาความต้องการของประชาชนได้ทั้งหมด

3.กิจการรมควบคุม

เน้นการจัดลำดับ แผนงาน/โครงการที่มีความสำคัญ เร่งด่วน

 

แบบ ปค.4

 

องค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด

 

รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน

 

ณ วันที่ 30 เดือน กันยายน พ..2563

 

องค์ประกอบของการควบคุมภายใน

ผลการประเมิน / ข้อสรุป

1.สภาพแวดล้อมการควบคุม

   (งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย) มีการมอบหมายงานตามคำสั่ง อบต.บึงเกลือ เรื่องการมอบหมายงานรับผิดชอบ ตำแหน่ง เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยชำนาญงาน   จำนวน 1 คน นอกจากงานในหน้าที่ต้องทำร่วมกับส่วนที่เกี่ยวข้อง ทำให้การติดตามตรวจสอบผลงานในส่วนที่รับผิดชอบได้น้อยลง

2. การประเมินความเสี่ยง

1.เช็คพิกัดทุก 1 ชม.กับลูกข่าย

2.สั่งการทำงานได้รับทราบพร้อมกันหลายคน

3. กิจกรรมการควบคุม

จุดพักพิงผู้ประสบภัย

1.จัดวิทยุประจำที่จำนวน 1 ตัว

2.ติดตั้งเสาสัญญาณสั่งการโดยการใช้วิทยุสื่อสาร

3.จดบันทึกเวลาที่ทำการ

4. สารสนเทศและการสื่อสาร

1. แจ้งเป็นหนังสือประชาสัมพันธ์

2. ติดต่อประสานงานทางโทรศัพท์

5. การติดตามประเมินผล

   ตรวจสอบการตรวจรับหรือรับทราบคำสั่งให้เข้า

   ปฏิบัติหน้าที่เป็นรายบุคคล

1. เพื่อให้การปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ เกิดประสิทธิผลและมีแนวทางปฏิบัติให้เป็นไปในทางเดียวกัน

2.ความเสี่ยง

   หลังการปฏิบัติหน้าที่ต้องชาร์ตแบตเตอรี่ทุกคน

3.กิจการรมควบคุม

   จุดพักพิงผู้ประสบภัย

1.จัดวิทยุประจำที่จำนวน 1 ตัว

2.ติดตั้งเสาสัญญาณสั่งการโดยการใช้วิทยุสื่อสาร

3.จดบันทึกเวลาที่ทำการ

 

แบบ ปค. 4

 

องค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด

 

รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน

 

ณ วันที่ 30 เดือน กันยายน พ..2563

 

องค์ประกอบของการควบคุมภายใน

ผลการประเมิน / ข้อสรุป

1.สภาพแวดล้อมการควบคุม

   (งานบริหารงานบุคคล) มีการมอบหมายงานตามคำสั่ง อบต.บึงเกลือ เรื่องการมอบหมายงานรับผิดชอบ ตำแหน่ง หัวหน้าฝ่ายบริหารงานทั่วไป จำนวน 1 คน นอกจากงานในหน้าที่ต้องทำร่วมกับส่วนที่เกี่ยวข้อง ทำให้การติดตามตรวจสอบผลงานในส่วนที่รับผิดชอบได้น้อยลง

2. การประเมินความเสี่ยง

ดำเนินการสรรหาตามตำแหน่งที่ว่างตามกรอบอัตรากำลังต่อไปเพื่อให้มีผู้ปฏิบัติงานมารับผิดชอบงานตามตำแหน่งหน้าที่ด้วยความระมัดระวังศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมหรือจัดอบรมให้ความรู้/ส่งเข้ารับการฝึกอบรม

3. กิจกรรมการควบคุม

แจ้งเวียนตำแหน่งที่ว่าง รับโอน ย้าย สรรหาบุคคลตามกรอบอัตรากำลัง

4. สารสนเทศและการสื่อสาร

1. แจ้งเป็นหนังสือประชาสัมพันธ์

2. ลงประกาศทางเว็บไซด์

5. การติดตามประเมินผล

ได้ดำเนินการแจ้งเวียนตำแหน่งที่ว่าง รับโอนย้าย ของใช้บัญชีของกรม ฯ สรรหาตามกรอบอัตรากำลังแต่ยังไม่ครบตามตำแหน่งที่ว่างอยู่จึงต้องดำเนินการสรรหาต่อไป

1.เพื่อให้บุคลากรมีจิตสำนึกที่ดี ซื่อสัตย์ สุจริตและรับผิดชอบ ยืดถือประโยชน์ของประเทศชาติเหนือกว่าประโยชน์ส่วนตน ยืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง เป็นธรรม ยึดมั่นในหลักจรรยาวิชาชีพขององค์กร

2.ความเสี่ยง

จำนวนบุคลากรมีน้อยและไม่ครบตามกรอบอัตรากำลังและมอบหมายให้รับผิดชอบภารกิจงานที่ไม่ตรงกับความรู้ ความชำนาญและมาตรฐานกำหนดตำแหน่งอาจทำให้เกิดความผิดพลาดและเสียหายต่อทางราชการได้

3.กิจการรมควบคุม

ดำเนินการสรรหาตามตำแหน่งที่ว่างตามกรอบอัตรากำลังต่อไปเพื่อให้มีผู้ปฏิบัติงานมารับผิดชอบงานตามตำแหน่งหน้าที่ด้วยความระมัดระวังศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมหรือจัดอบรมให้ความรู้/ส่งเข้ารับการฝึกอบรม

 

แบบ ปค.4

 

องค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด

 

รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน

 

ณ วันที่ 30 เดือน กันยายน พ..2563

 

องค์ประกอบของการควบคุมภายใน

ผลการประเมิน / ข้อสรุป

1.สภาพแวดล้อมการควบคุม

   (งานนิติการ) มีการมอบหมายงานตามคำสั่ง อบต.บึงเกลือ เรื่องการมอบหมายงานรับผิดชอบ ตำแหน่ง นิติกรชำนาญการ จำนวน 1 คน นอกจากงานในหน้าที่ต้องทำร่วมกับส่วนที่เกี่ยวข้อง ทำให้การติดตามตรวจสอบผลงานในส่วนที่รับผิดชอบได้น้อยลง

2. การประเมินความเสี่ยง

การออกใบอนุญาตไม่ครอบคลุมทุกประเภทสถานประกอบการ

   3. กิจกรรมการควบคุม

1.มีคำสั่งแบ่งงานตามภารกิจหน้าที่ มีผู้รับผิดชอบชัดเจน

2.มีการติดตามประเมินผลความสำเร็จของงาน

3.มีการทำรายงานเสนอผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้น

4. สารสนเทศและการสื่อสาร

1. แจ้งเป็นหนังสือประชาสัมพันธ์

2. ลงประกาศทางเว็บไซด์

5. การติดตามประเมินผล

เช็คจากทะเบียนผู้ประกอบการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เมื่อถึงกำหนดได้มีหนังสือติดตามทวงถาม

1.เพื่อให้ผู้ประกอบการรายเก่าได้ต่อใบอนุญาตครบ 100 %

2.ความเสี่ยง

การออกใบอนุญาตไม่ครอบคลุม ทุกประเภทสถานประกอบการ

3.กิจการรมควบคุม

1.ควรมีการประชุมร่วมกับผู้นำหมู่บ้านทุกแห่ง เพื่อทำความเข้าใจ

2.จัดทำป้ายรณรงค์ทุกหมู่บ้าน

3.ใช้มาตรการทางกฎหมาย

 

แบบ ปค. 4

 

องค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด

 

รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน

 

ณ วันที่ 30 เดือน กันยายน พ..2563

 

องค์ประกอบการควบคุมภายใน

ผลการประเมิน/ ข้อสรุป

กองคลัง

1. สภาพแวดล้อมการควบคุม

   1.1 กิจกรรมงานกองคลัง

     วิเคราะห์ 3 แนวทาง คือ วิเคราะห์จาก ภารกิจงานประจำ สภาพแวดล้อมภายใน และ สภาพแวดล้อมภายนอก ดังต่อไปนี้

$1(1)     วิเคราะห์จากภารกิจงานประจำ ตามโครงสร้างในคำสั่งแบ่งงาน ภารกิจการปฏิบัติงาน แบ่งออกเป็น 5 ฝ่าย ดังนี้

$1(1.1)  ฝ่ายการเงิน มีภารกิจทั้งสิ้น 16 ข้อ เมื่อ

สำรวจประเมินระบบควบคุมภายในที่มีอยู่เดิมและปรับปรุง

จุดอ่อน ของภารกิจแต่ละข้อ พบว่าในภารกิจงานประจำ มี

ระบบการควบคุมภายใน ยังพบจุดอ่อน 1. ด้านการนำส่งเงิน

คือการนำเงินฝากล่าช้า เนื่องจากรับเงินรายได้หลังจากใกล้

หมดเวลาทำการของธนาคาร ทำให้ไม่สามารถนำฝากเงินได้

ทันเวลา ต้องนำฝากในวันทำการถัดไป และบุคลากรด้าน

การเงินมีเพียงคนเดียว ทำให้การปฏิบัติงานต่าง ๆ เกิดความ

ล่าช้า การสอบทานการปฏิบัติงานยังไม่ดีเท่าที่ควร ถ้าหาก

เจ้าหน้าที่ขาดจริยธรรมก็อาจทำให้ราชการเกิดครามเสียหาย

ได้

$1(1.2)  ฝ่ายบัญชี มีภารกิจทั้งสิ้น 8 ข้อ เมื่อ

   สำรวจประเมินระบบควบคุมภายในที่มีอยู่เดิมและปรับปรุง

   จุดอ่อนของระบบการควบคุมภายในภารกิจแต่ละข้อ พบว่า

   ในภารกิจงานประจำมีระบบการควบคุมภายในเพียงพอแล้ว

แต่อย่างไรก็ตามยังมีจุดอ่อน เนื่องจากงานการบัญชีมีบุคลากรเพียงคนเดียว นอกเหนือจากงานประจำแล้วผู้รับผิดชอบยังต้องจัดทำรายงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับงานการเงินเป็นจำนวนมาก ทำให้การปฏิบัติหน้าที่เกิดความล่าช้า ทำงานไม่ทันตามกำหนดระยะเวลา

$1(1.1)  ฝ่ายพัฒนาและจัดเก็บรายได้ มีภารกิจ

   ทั้งสิ้น 9 ข้อ เมื่อสำรวจประเมินระบบควบคุมภายในที่มีอยู่

    เดิมและปรับปรุงจุดอ่อนของระบบการควบคุมภายในภารกิจ

   แต่ละข้อ พบว่าในภารกิจงานประจำมีระบบการควบคุม

   ภายในมีความเพียงพอ แต่ยังพบจุดอ่อนคือ การจัดเก็บ

   รายได้ไม่เป็นไปตามแผนและเป้าหมายที่กำหนด

       (1.3) ฝ่ายทะเบียนทรัพย์สินและพัสดุ มีภารกิจทั้งสิ้น 7 ข้อ เมื่อสำรวจประเมินระบบควบคุมภายในที่มีอยู่เดิมและปรับปรุงจุดอ่อนของระบบการควบคุมภายในภารกิจแต่ละข้อ พบว่าในภารกิจงานประจำมีระบบการควบคุมภายในมีความเพียงพอแต่ยังพบจุดอ่อนคือ การปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้างไม่เป็นไปตามแผนงานที่วางไว้ เนื่องจากงบประมาณไม่เข้าตามที่

         กองคลัง ได้วิเคราะห์ประเมินระบบควบคุมภายในตามภารกิจ ที่ปรากฏตามคำสั่งแบ่งงาน ในภารกิจ 5 งาน คือ

(1) งานการเงิน (2) งานการบัญชี (3) งานพัฒนาและจัดเก็บรายได้ (4) งานทะเบียนทรัพย์สินและพัสดุ (5) งานควบคุมงบประมาณ โดย วิเคราะห์ประเมินผลตามองค์ประกอบมาตรฐานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544 ผลการประเมินพบว่า

         - สภาพแวดล้อมภายใน มีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมแล้ว มีความเพียงพอ ไม่พบความเสี่ยง ที่จะต้องดำเนินจัดทำแผนการปรับปรุง

         จากการวิเคราะห์สำรวจ พบว่า มีกิจกรรม5 กิจกรรม ที่ต้องจัดการบริหารความเสี่ยง คือ

         (1) กิจกรรมการจัดทำฎีกาเบิกจ่ายเงินงบประมาณ

เป็นภารกิจ ของ งานการเงิน

         (2) กิจกรรมด้านบันทึกบัญชี เป็นภารกิจ ของ งานการ

                บัญชี

     (3) กิจกรรมด้านการพัฒนาและจัดเก็บรายได้ ของ งานด้านฝ่ายพัฒนาและจัดเก็บรายได้

           (4) กิจการด้านการควบคุมงบประมาณ ของ งานควบคุมงบประมาณ

           (5) กิจการด้านทะเบียนทรัพย์สินและพัสดุ ของ งานทะเบียนทรัพย์สินและพัสดุ  

               สภาพแวดล้อมภายนอก

           งานภายในกองคลังทั้ง 5 กิจกรรมนี้ กองคลังจะต้องทำแผนการปรับปรุงตามแบบ ปค.5 และวิเคราะห์ประเมินผลรายงานในคราวต่อไป

 

แบบ ปค. 4

 

องค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด

 

รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน

 

ณ วันที่ 30 เดือน กันยายน พ..2563

 

องค์ประกอบการควบคุมภายใน

ผลการประเมิน/ ข้อสรุป

     กำหนดไว้ ระเบียบกฎหมายด้านการพัสดุออกมาใหม่ ทำให้เป็นปัญหาอุปสรรคในด้านการปฏิบัติงาน

    (1.4) ฝ่ายควบคุมงบประมาณ มีภารกิจทั้งสิ้น4ข้อ เมื่อสำรวจประเมินระบบควบคุมภายในที่มีอยู่เดิมและปรับปรุงจุดอ่อนของระบบการควบคุมภายในภารกิจแต่ละข้อ พบว่าในภารกิจงานประจำมีระบบการควบคุมภายในมีความเพียงพอ แต่ยังพบจุดอ่อน คือ เจ้าหน้าที่ขาดความละเอียดรอบคอบ มีการวางฎีกาผิดประเภท ซึ่งอาจทำให้การควบคุมงบประมาณผิดพลาดได้

   (2) วิเคราะห์จาก สภาพแวดล้อมภายใน        

         (2.1) ระเบียบกฎหมาย หนังสือสั่งการ แนวทางปฏิบัติ

                  เมื่อสำรวจประเมินระบบควบคุมภายในที่มีอยู่เดิมและปรับปรุงจุดอ่อนของระบบการควบคุมภายในด้านระเบียบ กฎหมาย หนังสือสั่งการ แนวทางปฏิบัติ ไม่พบความเสี่ยง เนื่องจากได้มีการส่งเจ้าหน้าที่ภายในส่วนการคลังไปศึกษาอบรมอย่างสม่ำเสมอเป็นประจำทุกปี

(3) วิเคราะห์จาก สภาพแวดล้อมภายนอก

         (3.1) สถานที่ปฏิบัติราชการ เมื่อสำรวจประเมินระบบควบคุมภายในที่มีอยู่เดิม พบจุดอ่อน สถานที่ปฏิบัติราชการขาดความเป็นสัดส่วน ทำให้การปฏิบัติหน้าที่ของส่วนงานคลังยากต่อการควบคุมให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามส่วนงานของตนเอง

           (3.2) สถานที่ตั้ง เมื่อสำรวจประเมินระบบควบคุมภายในที่มีอยู่เดิมและปรับปรุงจุดอ่อนของระบบการควบคุมภายในด้านสถานที่ตั้ง ไม่พบจุดอ่อน

2. การประเมินความเสี่ยง

   2.1 กิจกรรมงานกองคลัง

2.1.1ฝ่ายการเงิน

                     ความเสี่ยง จากจุดอ่อนด้านการจัดทำฎีกาเบิกจ่ายเงินต่าง ๆ   ซึ่ง ฝ่ายงานการเงินเป็นผู้จัดทำฎีกาทั้งองค์กร ทำให้การเบิกจ่ายเกิดความล่าช้า และเป็นการรับผิดชอบงานมากเกินไป ส่งผลให้การปฏิบัติงานล่าช้า ไม่เป็นปัจจุบันและไม่ทันเวลา

         2.1.2ฝ่ายการบัญชี

                    ความเสี่ยง เนื่องจากงานการบัญชีนอกเหนือจากงานประจำแล้วผู้รับผิดชอบยังต้องจัดทำรายงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับงานการเงินเป็นจำนวนมาก ทำให้การปฏิบัติหน้าที่เกิดความล่าช้า ทำงานไม่ทันตามกำหนดระยะเวลา

 

 

แบบ ปค. 4

 

องค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด

 

รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน

 

ณ วันที่ 30 เดือน กันยายน พ..2563

 

องค์ประกอบการควบคุมภายใน

ผลการประเมิน/ ข้อสรุป

อบจ., ท้องถิ่นอำเภอ, เทศบาล และ อบต. ใกล้เคียง ฯลฯ เป็นไปอย่างสะดวก และได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดี

   4.3 การติดต่อประสานงานทางโทรศัพท์และโทรสาร

อบต. บึงเกลือ มีโทรศัพท์ และโทรสารที่ใช้ในการติดต่อประสานงานที่ทันสมัย สามารถติดต่อประสานงาน รวมถึงการติดต่อรับ-ส่ง เอกสารต่าง ๆ ผ่านเครื่องโทรสารได้ทันท่วงที

5. วิธีการติดตามประเมินผล

    (1) ใช้แบบสอบทาน เป็นเครื่องมือในการติดตามประเมินผล เพื่อสอบทานการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง โดยเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ และหัวหน้าส่วนการคลัง

     (2) ผู้บริหาร หัวหน้าหน่วยงาน และหัวหน้าส่วนการคลังต้องติดตาม กำกับดูแล เพื่อให้งานการคลังมีการบันทึกบัญชีและมีการตรวจสอบทุกวัน

     (3) ใช้ระบบสารสนเทศและการสื่อสารทั้งหมดที่มีอยู่ ของ อบต. เพื่อให้มีการติดตามระบบการควบคุมภายในที่ปรับปรุงใหม่อย่างสม่ำเสมอ มีความเพียงพอต่อการควบคุมหรือไม่ หากพบจุดอ่อน จะได้ทำแผนการปรับปรุง เพื่อให้ความเสี่ยงลดลง หรือสามารถควบคุมความเสี่ยงได้ โดยดำเนินการติดตามผลอย่างต่อเนื่องและรายงานผลการดำเนินการให้ผู้บังคับบัญชาและผู้บริหาร ทราบ อย่างต่อเนื่อง

 

 

แบบ ปค. 4

 

องค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด

 

รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน

 

ณ วันที่ 30 เดือน กันยายน พ..2563

 

องค์ประกอบการควบคุมภายใน

ผลการประเมิน / ข้อสรุป

กองช่าง

1. สภาพแวดล้อมการควบคุม

1.1 กิจกรรมด้าน การสำรวจและควบคุมงานก่อสร้าง

1.2 กิจกรรมด้าน “งานประสานสาธารณูปโภค”

1.3 กิจกรรมด้าน “การประมาณราคา”

2. การประเมินความเสี่ยง

2.1 กิจกรรมด้าน การสำรวจและควบคุมงานก่อสร้าง

       1) บุคลากรในการทำงานมีจำนวนน้อยไม่เพียงพอต่อการควบคุมงานก่อสร้าง

       2) ขาดอุปกรณ์เครื่องมือและบุคลากรในการสำรวจ

2.2 กิจกรรมด้าน “งานประสานสาธารณูปโภค”

         1) งบประมาณไม่เพียงพอต่อการก่อสร้างหรือซ่อมแซมบำรุงรักษาอย่างทั่วถึง

2.3 กิจกรรมด้าน “การประมาณราคา”

         1) ราคากลางที่พาณิชย์กำหนดกับราคาจริงท้องตลาดต่างกันมาก ทำให้การประเมินราคาคลาดเคลื่อน

         2) เครื่องมือสื่อสารไม่สามารถใช้งานได้

3. กิจกรรมการควบคุม

3.1 กิจกรรมด้าน การสำรวจและควบคุมงานก่อสร้าง

       1) ผู้บังคับบัญชาควรสั่งกำชับให้เจ้าหน้าที่เอาใจใส่ต่อภารกิจที่ได้รับมอบหมายมีมาตรการลงโทษตามควรแก่กรณีถ้าจงใจละเลย

3.2 กิจกรรมด้าน “งานประสานสาธารณูปโภค”

         1) รายงานการควบคุมการเบิกจ่ายวัสดุต่อผู้บังคับบัญชาอย่างต่อเนื่อง

         2) การตรวจสอบดูแลความชำรุดเสียหายของถนนต่าง ๆ และคูระบายน้ำ

         3) การดูแลถนนสายต่าง ๆ และคูระบายน้ำให้สะดวก ปลอดภัยในการใช้งาน

         4) การดูแลระบบประปาหมู่บ้านในการควบคุมของอบต.ให้มีการใช้งานได้ดีและมีคุณภาพ

    

   กองช่าง ได้วิเคราะห์ประเมินระบบการควบคุมภายใน ตามภารกิจงานประจำ พบว่า งานด้านการสำรวจและควบคุมงานก่อสร้าง, งานประสานสาธารณูปโภค และด้านการประมาณราคา มีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสม และเพียงพอแล้ว

 

แบบ ปค. 4

 

องค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด

 

รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน

 

ณ วันที่ 30 เดือน กันยายน พ..2563

 

องค์ประกอบการควบคุมภายใน

ผลการประเมิน / ข้อสรุป

         5) การควบคุมการใช้วัสดุอุปกรณ์ให้ถูกต้องตามระเบียบและประหยัด

         6) ปลูกจิตสำนึกให้ประชาชนรู้สึกหวงแหนและช่วยดูแลรักษาทรัพย์สินส่วนรวม

         7) การประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

   3.3 กิจกรรมด้าน “การประมาณราคา”

         1) ราคากลางที่พาณิชย์กำหนดกับราคาจริงท้องตลาดต่างกันมาก ทำให้การประเมินราคาคลาดเคลื่อน

       2) เครื่องมือสื่อสารไม่สามารถใช้งานได้

4. สารสนเทศและการสื่อสาร

   4.1 นำระบบ Internet มาช่วยในการบริหารและการปฏิบัติราชการ กองช่าง มีระบบ Internet มาช่วยในการพัฒนาและติดตามข้อมูลข่าวสาร ระเบียบกฎหมายและหนังสือสั่งการได้

   4.2 การประสานงานภายในและภายนอกของ     กองช่าง   เช่น

       1) การติดต่อประสานงานภายในกองช่าง   ผู้อำนวยการกองช่างแจ้งให้เจ้าหน้าที่ควบคุมงานควบคุมดูแลงานก่อสร้างอย่างต่อเนื่องและทุกขั้นตอนการปฏิบัติแล้วรายงานผลการปฏิบัติงานประจำวัน นำเสนอต่อผู้บังคับบัญชา ทุกขั้นตอนการปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง เพื่อให้ทราบผลการปฏิบัติงานและกรณี

หากเกิดปัญหาขัดข้องไม่สามารถปฏิบัติงานได้      

ให้รีบรายงานต่อผู้บังคับบัญชา หรือผู้อำนวยการ     กองช่าง ทราบทุกครั้ง เพื่อรีบหาทางแก้ไขปัญหาต่อไป

         2) การติดต่อประสานงานกับหน่วยงานภายนอก

- จัดประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้ให้แก่ประชาชนทราบ ระเบียบ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

- จัดประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ สมาชิก อบต. และผู้แทนประชาคมทุกหมู่บ้าน เข้ามาประชุมเพื่อสอบถามและสำรวจข้อมูลพื้นที่แต่ละหมู่บ้านให้ตรงสภาพพื้นที่ที่แท้จริง

    

 

 

 

 

แบบ ปค. 4

 

องค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด

 

รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน

 

ณ วันที่ 30 เดือน กันยายน พ..2563

 

องค์ประกอบการควบคุมภายใน

ผลการประเมิน / ข้อสรุป

   4.3 การติดต่อประสานงานทางโทรศัพท์และโทรสารมีโทรศัพท์โทรสารที่ใช้ในการติดต่อประสานงานในภารกิจหน้าที่ของกองช่าง ได้เป็นอย่างดี เช่น กรณีมีความขัดข้องใช้โทรศัพท์ไปสอบถาม ผู้อำนวยการกองต่าง ๆ ให้ตอบและช่วย FAX ระเบียบ กฎหมายและหนังสือสั่งการต่าง ๆ

5. การติดตามประเมินผล      

   - ใช้แบบสอบทาน เป็นเครื่องมือในการติดตามประเมินผล เพื่อสอบทานการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องโดยเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ และผู้อำนวยการกองช่าง

การติดตามประเมินผล ตามแบบติดตาม ปค.4   พบว่า กิจกรรมด้านการสำรวจและควบคุมงานก่อสร้าง กิจกรรมงานสาธารณูปโภค และกิจกรรมด้านการประมาณราคา มีการควบคุมที่มีความเพียงพอแล้ว

          

 

 

 

 

 

แบบ ปค. 4

 

องค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด

 

รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน

 

ณ วันที่ 30 เดือน กันยายน พ..2563

 

องค์ประกอบของการควบคุมภายใน

ผลการประเมิน / ข้อสรุป

กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

1. สภาพแวดล้อมการควบคุม

   1.1 กิจกรรมด้าน งานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

สภาพแวดล้อมของการควบคุมแบ่งเป็น

         1) สภาพแวดล้อมที่เกิดจากปัจจัยภายในคือ ครู ผู้ดูแลเด็กบางคนขาดประสบการณ์ในการจัดการดูแลเด็กปฐมวัย

         2) สภาพแวดล้อมที่เกิดจากปัจจัยภายนอกคือการเปลี่ยนแปลงของกฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง

     1.2 กิจกรรมด้าน งานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสภาพแวดล้อมของการควบคุมเกิดจากสภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยภายนอกคือ การเปลี่ยนแปลงของกฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง

2. การประเมินความเสี่ยง

   2.1 กิจกรรมด้าน งานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเกิดความเสี่ยงจากสภาพแวดล้อมภายใน คือ การจัดการศึกษาเด็กอนุบาลและปฐมวัยยังไม่ได้มาตรฐาน และขาดสนามเด็กเล็กที่ได้มาตรฐานและปลอดภัย

3. กิจกรรมการควบคุม

   3.1 ด้าน งานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการจัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานของศพด.

   - จัดส่งครู ผู้ดูแลเด็กเข้ารับการอบรมในส่วนงานที่เกี่ยวข้อง

   -   มีการสรุปผลของการปฏิบัติงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในทุก 6 เดือน

4. สารสนเทศและการสื่อสาร

   4.1 นำระบบ Internet มาช่วยในการบริหารและการปฏิบัติราชการ การติดตามข้อมูลข่าวสาร ระเบียบหนังสือสั่งการ จึงสามารถปฏิบัติตามระเบียบ หนังสือสั่งการได้ทันทีทันใด

   4.2 การประสานงานภายในและภายนอกของกองการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

           1) การติดต่อประสานงานภายในองค์กร คือ สำนักปลัด กองคลัง กองช่าง สามารถติดต่อประสานงานกันได้เป็นอย่างดี

           2) การติดต่อประสานงานกับหน่วยงานภายนอก คือ โรงเรียนในพื้นที่ ทางกองการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ก็สามารถติดต่อประสานงานกับหน่วยภายนอกได้เป็นอย่างดี

     4.3 การติดต่อประสานงานทางโทรศัพท์และ

โทรสาร สามารถติดต่อได้อย่างมีประสิทธิภาพทำให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย

5. การติดตามประเมินผล

   มีการติดตามประเมินผลโดย มีการตรวจเยี่ยมประเมินศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของอบต.ปีละ 2 ครั้ง

กองการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ได้วิเคราะห์ประเมินระบบการควบคุมภายใน

ตามภารกิจงานประจำ

โดยวิเคราะห์ประเมินผลตามองค์ประกอบมาตรฐานการควบคุมภายใน  

ผลการประเมิน พบว่างานบริหารงานการศึกษา งานส่งเสริมการศึกษาศาสนา และวัฒนธรรม งานกิจการโรงเรียนมีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมแล้ว มีความเพียงพอ

พบความเสี่ยง

ที่จะต้องดำเนินการจัดทำแผนการปรับปรุง ใน

งานศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ดังนี้

     1. ครู ผู้ดูแลเด็กบางคนขาดประสบการณ์ในการจัดการดูแลเด็กปฐมวัย

     2.ขาดสนามเด็กเล็กที่ได้มาตรฐานและปลอดภัย

การติดตามผลในแบบ ปค.5 พบว่า

- มีการตรวจเยี่ยมประเมินศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ของอบต.ปีละ 2 ครั้ง

 

 

 

 

 

แบบ ปค. 4

 

องค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ อำเภอเสลภูมิ จังหวัดร้อยเอ็ด

 

รายงานผลการประเมินองค์ประกอบของการควบคุมภายใน

 

ณ วันที่ 30 เดือน กันยายน พ..2563

 

องค์ประกอบของการควบคุมภายใน

ผลการประเมิน / ข้อสรุป

1. สภาพแวดล้อมการควบคุม

   1.1 กิจกรรมด้าน งานบริหารสวัสดิการสังคม

สภาพแวดล้อมของการควบคุมแบ่งเป็น

         1) สภาพแวดล้อมที่เกิดจากปัจจัยภายในคือ

งานมีปริมาณมาก งานด้านเอกสารและการติดต่อประสานงาน

         2) สภาพแวดล้อมที่เกิดจากปัจจัยภายนอกคือการเปลี่ยนแปลงของกฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง

     1.2 กิจกรรมด้าน งานบริหารความเสี่ยงด้านสวัสดิการสังคมสภาพแวดล้อมของการควบคุมเกิดจากสภาพแวดล้อมที่เป็นปัจจัยภายนอกคือ การเปลี่ยนแปลงของกฎ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง

2. การประเมินความเสี่ยง

   2.1 กิจกรรมด้าน งานบริหารความเสี่ยงด้านสวัสดิการสังคมเกิดความเสี่ยงจากสภาพแวดล้อมภายใน คือ

งานด้านเอกสารมีปริมาณมาก ต้องมีความรับผิดชอบ

ดำเนินงานให้ทันเวลาและถูกต้อง

3. กิจกรรมการควบคุม

   3.1 ด้าน งานบริหารความเสี่ยงด้านสวัสดิการสังคม

มีการประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง ติดตามงาน และเรียงลำดับงานก่อน-หลัง เพื่อให้มีประสิทธิภาพ

4. สารสนเทศและการสื่อสาร

   4.1 นำระบบโซเซียล เช่น โทรศัพท์,เว็บไซด์,Internet ,Line, Facebook มาช่วยในการบริหารและการปฏิบัติราชการ การติดตามข้อมูลข่าวสาร ระเบียบหนังสือสั่งการ

จึงสามารถปฏิบัติตามระเบียบ หนังสือสั่งการได้ทันทีทันใด

   4.2 การประสานงานภายในและภายนอกของ

กองการสวัสดิการสังคม

กองสวัสดิการสังคม

ได้วิเคราะห์ประเมินระบบการควบคุมภายใน

ตามภารกิจงานประจำ

โดยวิเคราะห์ประเมินผลตามองค์ประกอบมาตรฐานการควบคุมภายใน

ผลการประเมิน พบว่างานบริหารงานสวัสดิการสังคม มีระบบการควบคุมภายใน

ที่เหมาะสมแล้ว มีความเพียงพอ

พบความเสี่ยง

-

การติดตามผลในแบบ ปค. 5 พบว่า

-

   

องค์ประกอบของการควบคุมภายใน

ผลการประเมิน / ข้อสรุป

         1) การติดต่อประสานงานภายในองค์กร คือ

สำนักงานปลัด กองคลัง กองช่าง สามารถติดต่อประสานงานกันได้เป็นอย่างดี

         2) การติดต่อประสานงานกับหน่วยงานภายนอก คือ ผู้นำชุมชนในพื้นที่ ทางกองการสวัสดิการสังคม สามารถติดต่อ

ประสานงานกับหน่วยภายนอกได้เป็นอย่างดี

     4.3 การติดต่อประสานงานทางโทรศัพท์และ

โทรสาร สามารถติดต่อได้อย่างมีประสิทธิภาพทำให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความเรียบร้อย

5. การติดตามประเมินผล

    มีการติดตามประเมินผลโดยการประสานงานผู้นำชุมชน กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เป็นผู้ติดตามประเมินผลและจากการติดตามประเมินผล พบว่า ไม่มีความเสี่ยงด้านสวัสดิการสังคม

 

 

                                                          ชื่อผู้รายงาน.......................................................

 

           (นายสมศรี อ่างรี)

 

ตำแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ

 

                       วันที่ 2 เดือน พฤศจิกายน พ..2563

 

 

 

แบบ ปค.6

 

รายงานการสอบทานการประเมินผลการควบคุมภายในของผู้ตรวจสอบภายใน

 

เรียน    นายกองค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ

 

                                               

 

ผู้ตรวจสอบภายในของ    องค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ ได้สอบทานการประเมินผล

 

การควบคุมภายในของหน่วยงาน สำหรับปีสิ้นสุดวันที่ 30 กันยายน 2563 ด้วยวิธีการสอบทานตามหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ พ.ศ. 2561 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่า ภารกิจของหน่วยงานจะบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายในด้านการดำเนินงานที่มีประสิทธิผล ประสิทธิภาพด้านการรายงานที่เกี่ยวกับการเงิน และไม่ใช่การเงินที่เชื่อถือได้ ทันเวลา และโปร่งใส รวมทั้งด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับที่เกี่ยวกับการดำเนินงาน

 

                   จากผลการสอบทานดังกล่าว ผู้ตรวจสอบภายในเห็นว่า การควบคุมภายในขององค์การบริหารส่วนตำบลบึงเกลือ มีความเพียงพอ ปฏิบัติตามอย่างต่อเนื่อง และเป็นไปตามหลักเกณฑ์กระทรวงการคลังว่าด้วยมาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของรัฐ

 

พ.ศ. 2561

 

                   

 

ลายมือชื่อ ...........................................................

 

(นางชุลีพร แย้มดวง)                                

 

       ตำแหน่ง รองปลัด อบต. ปฏิบัติหน้าที่            

 

       ผู้ตรวจสอบภายใน

 

 

 

 

 

 

 

Attachments:
FileDownloadsLast modified
Download this file (1.แบบ ปค.1.doc)1.แบบ ปค.1.doc17815/03/2564 03:59
Download this file (2.แบบ ปค.4.doc)2.แบบ ปค.4.doc19815/03/2564 03:59
Download this file (3.แบบ ปค.5.doc)3.แบบ ปค.5.doc17915/03/2564 03:59
Download this file (4.แบบ ปค.6.doc)4.แบบ ปค.6.doc19115/03/2564 03:59
Download this file (IMG20210317092016.jpg)IMG20210317092016.jpg17124/03/2564 06:51
Download this file (IMG20210317092039.jpg)IMG20210317092039.jpg17324/03/2564 06:51
Download this file (IMG20210317092930.jpg)IMG20210317092930.jpg17624/03/2564 06:52

แก้ไขล่าสุด (วันพุธที่ 24 มีนาคม 2021 เวลา 06:52 น.)